Highlight

Research & Consultancy

Tsunami โศกนาฏกรรมอันดามัน

 
.....อย่าไปตระหนกตกใจกลัวจนเกินเหตุ...จากการให้ข่าวของนัก วิชาการ?จากหน้าตาทางสังคมที่ดูน่าเชื่อถือ?ขยันให้ข่าวสื่อแบบคาดเดาแบบไม่ มีเวลาชัดเจน...จากข่าวที่จะเกิดสึนามิขึ้นอีก (สึนามิที่มีสาเหตุมาจากแผ่นดินไหวที่ไม่มีระบบใดบอกได้ล่วงหน้าก่อนการ เกิด) พูดแบบนี้ต้องใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เชิงพื้นที่ไปอธิบาย..ไม่ใช่ โหราศาสตร์ครับ:-) ....ความรู้ความเข้าใจเชิงพื้นที่จะทำให้เกิดความตระหนัก รู้หลักการ&ถอดบทเรียนในการเตรียมความพร้อม และเตือนอย่างเป็นระบบที่ดีกว่าเมื่อคราวเกิดแผ่นดินไหว 9.0 เมื่อวันที่ 26ธันวาคม 2547 ในทะเลอันดามัน (ตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา) ที่ส่งผลให้เกิดสึนามิต่อแนวชายฝั่งทะเลอันดามันของบ้านเรา ที่มีเวลาเวลาประมาณ 1.5 ชม. หลังเกิดแผ่นดินไหวก่อนที่คลื่นสึนามิจะถึงชายฝั่งทะเลอันดามันของบ้าน เรา.....เรียนรู้แบบวิทยาศาสตร์ด้วยปัญญาของเราได้เพิ่มเติมที่ ...รำลึก 9ปี สึนามิ @ 26 ธันวาคม 2547..ได้ที่
- ความรู้ด้านธรณีวิทยาและภูมิศาสตร์เชิงระบบจากภัยพิบัติคลื่นยักษ์สึนามิ สำหรับระบบเฝ้าระวัง
  และการจัดการเพื่อลดผลกระทบในอนาคต

- การประเมินความเสียหายของพื้นที่ 6 จังหวัดที่ได้รับ ผลกระทบจากสึนามิ โดยใช้เทคนิคการ
  ประเมินความแตกต่างของค่า NDVI ของภาพข้อมูลดาวเทียม Landsat
   ก่อนและหลัง เหตุการณ์ คลื่นยักษ์ Tsunami

- การประเมินพื้นทีที่ได้รับผลกระทบจากสึนามิ บริเวณ บ้านน้ำเค็ม จ.พังงา โดยใช้ข้อมูล
   จากการสำรวจระยะไกล (high resolution)

- การประเมินพื้นทีที่ได้รับผลกระทบจากสึนามิ บริเวณ เขาหลัก จ.พังงา โดยใช้ข้อมูล
   จากการสำรวจระยะไกล (high resolution)

- การประยุกต์ใช้ GIS และข้อมูล Remote Sensing เพื่อการประเมินผลกระทบเบื้องต้นทางกายภาพในพื้นที่ประสบธรณีพิบัติภัย จากการเกิดคลื่นยักษ์ (tsunami)
Aftershocks of 26 Dec 04 - 27 Mar 05   Aftershocks of 28 Mar 05 - 1 Apr 05   Zoom ...   แผนที่แสดงรอยต่อแผ่นเปลือกโลกและตำแหน่งการเกิดแผ่นดินไหวที่มีขนาดความ รุนแรงมากกว่า 7 ริกเตอร์ ในรอบ 100 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2448 - 8 ตุลาคม 2548)
บริเวณทวีปเอเชีย และมหาสมุทรอินเดีย

Aftershocks of
26 Dec 04 - 27 Mar 05
  Aftershocks of
28 Mar 05 - 1 Apr 05
  for more information...

ผลการวิเคราะห์สถานการณ์พิบัติภัยจาก ดินถล่ม-น้ำปนตะกอนบ่า-น้ำหลาก และน้ำท่วมขัง บริเวณภาคเหนือ

×

Warning

Joomla\CMS\Filesystem\Folder::create: Could not create folder.Path: [ROOT]\images\thumbnails\D:
การ ประยุกต์ใช้ GIS และข้อมูล Remote Sensing เพื่อการประเมินผลกระทบเบื้องต้นทางกายภาพในพื้นที่ประสบธรณีพิบัติภัย จากการเกิดคลื่นยักษ์ (tsunami) เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 บริเวณชายฝั่งทะเลของประเทศไทย
The Application of GIS and Remote Sensing on Assessing Physical Impact Caused by Tsunami on Dec,26 2004 in the Coastal Zone of Thailand



โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ อยู่เมือง และทีมงานวิจัย
ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย [ GISTHAI ] จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
e - mail : sombat@gisthai.org

ByAssistant Professor Sombat Yumuang et al.
Geo-InformaticS Center for Thailand [ GISTHAI ]   Chulalongkorn University



Ranong Phang Nga Phuket Krabi Trang Satoon

แผนที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ ของประเทศไทย บริเวณที่ได้รับผลกระทบจากคลื่นยักษ์ (Tsunami)
Topographical map of Thailand in the affected areas by Tsunami
Zoom Image Zoom Image...
แผนที่จำลองลักษณะภูมิประเทศและ
เส้นทางคมนาคมของประเทศไทย
Simulated topographical map and transportation network of Thailand
ภาพจำลองสามมิติแสดงลักษณะภูมิประเทศ ของประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียง
Aperspective view showing Thailand topography and the surrounding areas
แผนที่แสดงเขตอุทยานแห่งชาติ
The boundary map of National Park
 
แผนที่แสดงข้อมูลการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณทะเลอันดามัน
Map of Earthquake Phenomenon in Andaman Sea
Zoom Image... Zoom Image..
ข้อมูลภาพจากดาวเทียม MODIS บริเวณ
โดยรอบทะเลอันดามัน และมหาสมุทรอินเดีย
Modis satellite image of Andaman Sea and Indian Ocean
ข้อมูลภาพจากดาวเทียม MODIS
ซ้อนทับตำแหน่งการเกิดแผ่นไหว
[26 - 29 ธ.ค. 2547]
Modis satellite image overlaid with the point of earthquake (26-29 December 2004)
ตำแหน่งการเกิดแผ่นไหว Main Shock
และ After Shock ในทะเลอันดามัน
และมหาสมุทรอินเดีย [26 - 27 ธ.ค. 2547]
The location of earthquake phenomenon and its after shock in Andaman Sea and Indian Ocean (26-27 December 2004)
Download รูป Download รูป Download รูป
 
ได้รับความอนุเคราะห์ข้อมูล :
Source of Ikonos satellite images :
  • ข้อมูลภาพจากดาวเทียม IKONOS จาก สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์กรมหาชน)
    Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (Public Organization)
  • ข้อมูลภาพจากดาวเทียม IKONOS จาก บริษัท สเปซ อิมเมจจิ้ง เชาธ์อีสท์ เอเซีย (SISEA) โดยความร่วมมือกับ
    Center of Remote Imaging, Sensing and Processing (CRISP) ที่ University of Singapore
    Space Imaging Southeast Asia (SISEA) Center of Remote Imaging, Sensing and Processing (CRISP), University of Singapore
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับแผ่นดินไหว และคลื่นยักษ์สึนามิ (tsunami)
more information about earthquake and tsunami

www.geophys.washington.edu
 
แบบจำลองแสดงการเกิดสึนามิ (tsunami)
Okushiri Island Field Surveys Non-tsunami
inundation in China.
Zoom Image...
Sumatra Earthquake
( Animation provided by Kenji Satake,
National Institute of Advanced Industrial Science and Technology, Japan )
Western Indian Ocean / Somalia
(National Oceanic &
Atmospheric Administration (NOAA))
M9.0 Sumatra - Andaman Islands Earthquake of 26 December 2004
http://www.usgs.gov