เอกสารประกอบการบรรยาย การเสวนา “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างนโยบายที่เหมาะสมกับการดาเนินงานในเชิงพื้นที่ .. เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนและสมดุล”
การเสวนา “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างนโยบายที่เหมาะสม
กับการดาเนินงานในเชิงพื้นที่ .. เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนและสมดุล”
ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย 31 พฤษภาคม 2562


AIP - Actionable Intelligence Policy Platform : นวัตกรรมทางความคิด
และภูมิสารสนเทศ (Geo-Informatics) สาหรับการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน
และแนวทางในการบริหารจัดการความเสี่ยงจากพิบัติภัยไฟป่า และพิบัติภัยที่เกี่ยวข้อง
เพื่อการพัฒนาพื้นที่แบบองค์รวมอย่างยั่งยืนและสมดุล ในจังหวัดเชียงรายและพื้นที่ข้างเคียง

โดย ผศ. ดร. สมบัติ อยู่เมือง
ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย www.gisthai.org
Facebook Page : Gisthai

ดาวน์โหลดไฟล์นำเสนอ : ไฟล์ pdf (7.9 MB)       ไฟล์ ppt (33.5 MB)
ดาวน์โหลด Poster : Poster1   Poster2   Poster3   Poster4   Poster5
Poster6   Poster7   Poster8   Poster9   Poster10

เอกสารประกอบการบรรยาย "ภูมิสารสนเทศสำหรับโรงเรียน" (Geo-Informatics for Schools)
โดย ผศ. ดร. สมบัติ อยู่เมือง
ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย www.gisthai.org
ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
26 กันยายน 2558

…เพื่อสร้างสรรความคิดและการเรียนรู้ในเชิงพื้นที่ ด้วยภูมิสารสนเทศ ที่ใช้เป็นองค์รวมในการเรียนข้ามศาสตร์…
ภูมิสารสนเทศ (Geo-Informatics ) :
  • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ - Geographic Information Systems (GIS)
  • ระบบข้อมูลภาพจากดาวเทียม - Remote Sensing (RS) Technology
  • ระบบพิกัดตาแหน่งทางภูมิศาสตร์ - Geo-positioning Systems (GPS)
…ข้ามศาสตร์ : เทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ (ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมศาสตร์ คณิตศาสตร์) ศิลปะศาสตร์
 
More Detail  ( 6.1 MB)...


เอกสารประกอบการบรรยาย โครงการประยุกต์ใช้และบริหารข้อมูลเพื่อการจัดการสาธารณภัย
โดย ผศ. ดร. สมบัติ อยู่เมือง
ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย www.gisthai.org
ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
12 กุมภาพันธ์ 2558

Part I : กรอบแนวคิดในการบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงจากพิบัติภัยธรรมชาติ แนวทางการใช้ข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อการบริหารจัดการและการลดความเสี่ยงพิบัติภัยธรรมชาติ
Part II : กรณีศึกษาการใช้ข้อมูลเชิงพื้นที่ในการบริหารจัดการพิบัติภัยธรรมชาติในพื้นที่เสี่ยงดินโคลนถล่มและอุทกภัย
Part III : โครงการประยุกต์ใช้และบริหารข้อมูลเพื่อการจัดการสาธารณภัย
 
More Detail  ( 25.2 MB)...


ภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี GEOINFORMATICS FOR GOOD GOVERNANCE-GGG
ภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
GIS for Good Government-GGG
มิติใหม่ของการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ ข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
More Detail...

การจัดการพิบัติภัยธรรมชาติ NATURAL HAZARD MANAGEMENT
โดย ผศ. ดร. สมบัติ อยู่เมือง
ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย www.gisthai.org
ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
19 มิถุนายน 2557

As one philosopher said, "Man lives by geological and natural consent subject to change without notice."
  • Every year our planet has thousands of floods, earthquakes, wildfires, landslides, avalanches, and tornadoes, and hundreds of volcanic eruptions and tropical cyclones.
  • During the past 20 years, natural hazards have killed about three million people. More than 800 million have suffered loss of home, health, family members or friends, and endured economic hardship.
  •  
    More Detail...


     Tsunami โศกนาฏกรรมอันดามัน 
    .....อย่าไปตระหนกตกใจกลัวจนเกินเหตุ...จากการให้ข่าวของนักวิชาการ?จากหน้าตาทางสังคมที่ดูน่าเชื่อถือ?ขยันให้ข่าวสื่อแบบคาดเดาแบบไม่มีเวลาชัดเจน...จากข่าวที่จะเกิดสึนามิขึ้นอีก (สึนามิที่มีสาเหตุมาจากแผ่นดินไหวที่ไม่มีระบบใดบอกได้ล่วงหน้าก่อนการเกิด) พูดแบบนี้ต้องใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เชิงพื้นที่ไปอธิบาย..ไม่ใช่โหราศาสตร์ครับ:-) ....ความรู้ความเข้าใจเชิงพื้นที่จะทำให้เกิดความตระหนัก รู้หลักการ&ถอดบทเรียนในการเตรียมความพร้อม และเตือนอย่างเป็นระบบที่ดีกว่าเมื่อคราวเกิดแผ่นดินไหว 9.0 เมื่อวันที่ 26ธันวาคม 2547 ในทะเลอันดามัน (ตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา) ที่ส่งผลให้เกิดสึนามิต่อแนวชายฝั่งทะเลอันดามันของบ้านเรา ที่มีเวลาเวลาประมาณ 1.5 ชม. หลังเกิดแผ่นดินไหวก่อนที่คลื่นสึนามิจะถึงชายฝั่งทะเลอันดามันของบ้านเรา.....เรียนรู้แบบวิทยาศาสตร์ด้วยปัญญาของเราได้เพิ่มเติมที่ ...รำลึก 9ปี สึนามิ @ 26 ธันวาคม 2547..ได้ที่
    - ความรู้ด้านธรณีวิทยาและภูมิศาสตร์เชิงระบบจากภัยพิบัติคลื่นยักษ์สึนามิ สำหรับระบบเฝ้าระวัง
      และการจัดการเพื่อลดผลกระทบในอนาคต


    - การประเมินความเสียหายของพื้นที่ 6 จังหวัดที่ได้รับ ผลกระทบจากสึนามิ โดยใช้เทคนิคการ
      ประเมินความแตกต่างของค่า NDVI ของภาพข้อมูลดาวเทียม Landsat
       ก่อนและหลัง เหตุการณ์ คลื่นยักษ์ Tsunami

    - การประเมินพื้นทีที่ได้รับผลกระทบจากสึนามิ บริเวณ บ้านน้ำเค็ม จ.พังงา โดยใช้ข้อมูล
       จากการสำรวจระยะไกล (high resolution)

    - การประเมินพื้นทีที่ได้รับผลกระทบจากสึนามิ บริเวณ เขาหลัก จ.พังงา โดยใช้ข้อมูล
       จากการสำรวจระยะไกล (high resolution)

    - การประยุกต์ใช้ GIS และข้อมูล Remote Sensing เพื่อการประเมินผลกระทบเบื้องต้นทางกายภาพในพื้นที่ประสบธรณีพิบัติภัย จากการเกิดคลื่นยักษ์ (tsunami)
    Aftershocks of 26 Dec 04 - 27 Mar 05   Aftershocks of 28 Mar 05 - 1 Apr 05   Zoom ...   แผนที่แสดงรอยต่อแผ่นเปลือกโลกและตำแหน่งการเกิดแผ่นดินไหวที่มีขนาดความรุนแรงมากกว่า 7 ริกเตอร์ ในรอบ 100 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2448 - 8 ตุลาคม 2548)
    บริเวณทวีปเอเชีย และมหาสมุทรอินเดีย

    Aftershocks of
    26 Dec 04 - 27 Mar 05
      Aftershocks of
    28 Mar 05 - 1 Apr 05
      for more information...
  • Fast Moment Tensor Solution 26 December 2004
  • Focal Mechanisms

  • Finding faults in a changing map (The Nation : Sunday, January 30,2005 Page 4A)
    Zoom ... A perspective view of digital terrain and
    submarine model of southeast asia




      Zoom ... Seismicity of the Northeast Indian Ocean
    1900 - 18 Jan 2005





    The Application of GIS and Remote Sensing on Assessing Physical Impact Caused by Tsunami on Dec,26 2004 in the Coastal Zone of Thailand
    Phangnga
    Select Province :
    [ Ranong | Phangnga | Phuket | Krabi I Trang | Satun ]
    ภาพสามมิติ บริเวณ แหลมปะการัง - เขาหลัก จ.พังงา
    หลังเกิดเหตุการณ์คลื่นยักษ์ (Tsunami) ถล่ม

    A perspective view at Pakarang Cape, Khao Lak, Phangnga in post tsunami disaster

    Sumatra Earthquake (Animation)

    เรียนรู้ เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก...(Knowledge Base of Global Climate Change...)  


    โดย ผศ.ดร.สมบัติ อยู่เมือง
    หัวหน้าศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย
    แผนที่เปรียบเทียบ น้ำท่วมลุ่มน้ำบางปะกง-ปราจีน ตั้งแต่ 17 ก.ย. - 4 ต.ค. 2555
    (zoom ในพื้นที่ระดับหมู่บ้าน ที่ได้รับผลกระทบมากตามลำดับจากต้นน้ำมากลางน้ำ และปลายน้ำต่อไป !!!)
    แผนที่แสดงพื้นที่น้ำท่วมบริเวณ ลุ่มน้ำบางปะกง ระหว่างปี พ.ศ.2549-2554
    เปรียบเทียบกับ
    พื้นที่น้ำท่วมบริเวณ จังหวัดปราจีนบุรี นครนายก และสระแก้ว เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2555
    แผนที่แสดงพื้นที่น้ำท่วมบริเวณ ลุ่มน้ำบางปะกง ระหว่างปี พ.ศ.2549-2554
    เปรียบเทียบกับ
    พื้นที่น้ำท่วมบริเวณ จังหวัดปราจีนบุรี นครนายก และสระแก้ว เมื่อวันที่ 17,22,23,25 กันยายน พ.ศ.2555
    แผนที่แสดงพื้นที่น้ำท่วมบริเวณ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.2549-2555
    เปรียบเทียบกับ
    พื้นที่น้ำท่วมบริเวณ จังหวัดสุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร และนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2555
    แผนที่แสดงพื้นที่น้ำท่วมบริเวณ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.2549-2555
    เปรียบเทียบกับ
    พื้นที่น้ำท่วมบริเวณ จังหวัดชัยนาท สุพรรณบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง และพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2555
    บทเรียนที่ไม่เคยจำ (2) ในรายการ ข่าวเด่น คนดัง TNN 24
    ออกอากาศ 21 กันยายน 2555 (ชมคลิป)
    การวิเคราะห์เชิงพื้นที่จากสถานการณ์น้ำท่วมในปี 2555 (ถึงวันที่ 21 กันยายน 2555)
    วิเคราะห์เบื้องต้นเพื่อการเรียนรู้ฯ โดย ผศ .ดร.สมบัติ อยู่เมือง และทีมงาน GISTHA
    1. "พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากในลุ่มน้ำเจ้าพระยาและลุ่มน้ำที่เกี่ยวข้อง ระหว่างปี พ.ศ. 2549-2554"

    พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากปี 2549-2554
    2. "เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่น้ำท่วมในลุ่มน้ำเจ้าพระยาและลุ่มน้ำที่เกี่ยวข้อง ณ วันที่ 11 และ 17 กันยายน 2555"

    พื้นที่น้ำท่วม 11-09-55

    พื้นที่น้ำท่วม 17-09-55
    3. "เปรียบเทียบพื้นที่แต่ละประเภทของการใช้ประโยชน์ที่ดิน (land use types) ที่ได้รับผลกระทบมากขึ้นจากน้ำท่วมในจังหวัดสุโขทัย ตั้งแต่วันที่ 11, 17 และ 20 กันยายน 2555"

    การใช้ประโยชน์ที่ดิน
    (land use types) 11-09-55

    การใช้ประโยชน์ที่ดิน
    (land use types) 17-09-55

    การใช้ประโยชน์ที่ดิน
    (land use types) 20-09-55

    (หมายเหตุ : รายละเอียดในเชิงอรรถาธบาย เช่น รายชื่อหมู่บ้าน จำนวนประชากร จำนวนครัวเรือน และอื่นๆ มีหมดครับ แต่ไม่อยากใส่ลงไป มากกว่านี้ เดียวหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบโดยตรงจะลำบากใจ...!!!! อย่างไรก็ตาม....หน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบโดยตรง น่าจะ พิจารณาลองทำให้ละเอียดๆกว่านี้เพื่อให้ทันกับสถานการณ์ในเชิงพื้นที่ แทนการเขียนรายงานแบบข้อความกว้างๆแบบเดิมๆดูบ้างก็น่าจะดีต่อ การช่วยเหลือและจ่ายค่าชดเชยที่เป็นธรรมาภิบาลอย่างทันกาลนะครับ....)
    ประชาชนหลอนน้ำท่วมซ้ำ ในรายการ ข่าวเด่น คนดัง TNN 24
    ออกอากาศ 13 กันยายน 2555

    ชมคลิป ตอนที่ 1

    ชมคลิป ตอนที่ 2
    พิบัติภัยธรรมชาติ (Natural Hazards) : แผ่นดินไหวในประเทศไทยในอดีต-เมษายน 2555
    โดย ผศ. ดร. สมบัติ อยู่เมือง
    ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย www.gisthai.org
    ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์
    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    ระยะเวลาในการเตือนภัยสำหรับพิบัติภัยประเภทต่างๆ
    o คลื่นยักษ์ (Tsunamis) : นาที - 1 ชั่วโมง
    o แผ่นดินไหว (Earthquake) : 0 นาที
    o ภูเขาไฟระเบิด (Volcanic eruption) : วัน – สัปดาห์
    o พายุ (Storm) : 1 – 2 วัน
    o พายุโซนร้อน (Tropical Cyclone) : 2 – 4 วัน
    o ดินถล่ม-น้าปนตะกอนหลาก : ชั่วโมง–วัน
    o น้าท่วม (Floods) : ชั่วโมง –วัน  
    More Detail...

    "USGS - Poster of the Northern Sumatra, Indonesia Earthquakes of 11 April 2012 - Magnitude 8.6 and 8.2"
        The April 11, 2012, M8.6 and M8.2 earthquakes off the west coast of northern Sumatra, Indonesia, occurred as a result of strike-slip faulting within the oceanic lithosphere of the Indo-Australia plate. The quakes were located respectively 100 km and 200 km to the southwest of the major subduction zone that defines the plate boundary between the India/Australia and Sunda plates offshore Sumatra. At this location, the India/Australia plates move north-northeast with respect to the Sunda plate at a velocity of approximately 52 mm/yr.  
    More Detail...
    ข้อมูลข้อเท็จจริงของแนวรอยเลื่อนกับแผ่นดินไหว 4.3 ริกเตอร์ที่จังหวัดภูเก็ต (กรมทรัพยากรธรณี)
    Downloadl File .Pdf
    แผนการจัดการน้ำของ กยน. ในรายการ ข่าวเด่น คนดัง TNN 24
    วันที่ 1 มี.ค 2555

    ตอนที่1

    ตอนที่2
    โครงการในการขับเคลื่อนการพัฒนาฯ : พื้นที่ลุ่มน้ำน่านของจังหวัดน่าน 18 มกราคม 2555   
    กระบวนการการขับเคลื่อนการพัฒนาฯ ในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านของจังหวัดน่าน
    - “เข้าใจ” ข้อมูลพื้นฐานเชิงพื้นที่
    - “เข้าถึง” สื่อสารและสร้างการมีส่วนร่วม
    - “พัฒนา” เรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนและพื้นที่
    ....
    “สมบัติ อยู่เมือง” พื้นที่รับน้ำ ถ้ามันแฟร์-ยุติธรรม “ใครจะไม่เอา” วันจันทร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2555
        ก่อนที่บ้านเราจะเข้าสู่ฤดูฝนในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้า หนึ่งในโจทย์ใหญ่เพื่อป้องน้ำท่วมของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ตามแผนการดำเนินงานของคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (กยน.) คือ การหาพื้นที่รับน้ำนองจำนวน 2 ล้านไร่ หวังตัดยอดน้ำ ก่อนถาโถมเข้าสู่เมืองกรุง ปกป้องพื้นที่เศรษฐกิจที่สำคัญ ....  
    More Detail...
    เปิดแผนบริหารจัดการน้ำ กยน. - รัฐบาล "เอาอยู่"? รายการ Intelligence ประจำวันที่ 12 ก.พ. 2555
        วิกฤติมหาอุทกภัยปี 2554 สร้างความเสียหายกับประเทศไทยเป็นมูลค่า 1.4 ล้านล้านบาท ตามการประมาณการของธนาคารโลก รัฐบาลเร่งเดินหน้าเยียวยาฟื้นฟูประเทศ ในเชิงโครงสร้างบริหารจัดการ มีการตั้งคณะกรรมการหลัก 2 ชุด คือ คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคต หรือ กยอ. และคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและวางระบบบริหารจัดการน้ำ หรือ กยน....  
    More Detail...
    ผลการประชุม กยน. ในรายการ “ตอบโจทย์” ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส Thai PBS เมื่อวันที่ 25 พ.ย. 2554

    ชมคลิปข่าว
        สัมภาษณ์ นายรอยล จิตรดอน ผู้อำนวยการ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี .ดร.สมบัติ อยู่เมือง หัวหน้าศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย ภาควิชาธรณี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ถึงแนวทางการแก้ปัญหาน้ำท่วมหลังจากการประชุม คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (กยน.) ในครั้งแรกผ่านไป
    รายการตีท้ายข่าว TNN 24
    วันที่ 19 พ.ย. 2554

    ตอนที่3

    ตอนที่4
    จังหวะก้าวและกรอบการทะลวงปัญหาน้ำ การเมืองต้องให้อิสระกับกยน. (17 พ.ย. 2554)
        การแก้ปัญหาน้ำท่วมในกรุงเทพเริ่มบรรเทาลงในบางพื้นที่ เช่น กรุงเทพชั้นใน แต่บางพื้นที่อย่างกรุงเทพฝั่งตะวันออก ก็เพิ่งเริ่มเผชิญกับกระแสน้ำที่ไหลบ่า ขณะที่ รัฐบาลยิ่งลักษณ์ได้วางโครงสร้างการบริหารของรัฐบาลใหม่เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาน้ำท่วมใหญ่ซ้ำรอยอีกในปีหน้า โดยได้ตั้งคณะกรรมการระดับชาติ 2 คณะเพื่อสร้างความเชื่อมั่นและแก้ปัญหาจัดการน้ำระยะยาว
        หนึ่งในนั้น คือ คณะกรรมการ ยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (กยน.) มี กิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.พาณิชย์ เป็นประธานกรรมการ โดยมี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา เป็นที่ปรึกษากรรมการ กรรมการคนอื่นๆ ประกอบด้วย ...  
    More Detail...
    รายการข่าวเด็น คนดัง TNN 24
    วันที่ 18 พ.ย. 2554

    ตอนที่1

    ตอนที่2
    วันที่ 16 พ.ย. 2554วันที่ 17 พ.ย. 2554

    ตอนที่1

    ตอนที่2

    ตอนที่1

    ตอนที่2
    ผอ.ศูนย์วิจัยสารสนเทศฯค้านข้อเสนอ 20 ส.ส.เพื่อไทยที่จะให้ย้ายเมืองหลวง (15 พ.ย. 2554)
        ผอ.ศูนย์วิจัยสารสนเทศฯ ค้านข้อเสนอ 20 ส.ส.เพื่อไทยที่จะให้ย้ายเมืองหลวง แจงไม่ใช่เรื่องง่าย สถานที่สำคัญหลายแห่งอยู่ที่นี่ อีกทั้งข้อมูล กทม.ทรุดปีละ 20 ซม.ไม่จริง ขนาดเมื่อก่อนทรุดแค่ 1-3 ซม.ต่อปี ยิ่งทุกวันนี้แทบไม่ทรุดเลยเพราะเลิกใช้น้ำบาดาลแล้ว ซัดถ้ามีเงื่อนไขแค่นี้อย่าพูด มั่นใจใช้แนวคิด “ในหลวง” จัดการน้ำอย่างยั่งยืน และทุกคนช่วยกันทำงานตั้งแต่วันนี้ สู้น้ำได้แน่นอน...  
    More Detail...
    รายการข่าวเด็น คนดัง TNN 24
    วันที่ 10 พ.ย. 2554วันที่ 15 พ.ย. 2554

    ตอนที่1

    ตอนที่2

    ตอนที่1

    ตอนที่2
    วันที่ 3 พ.ย. 2554วันที่ 4 พ.ย. 2554

    ตอนที่1

    ตอนที่2

    ตอนที่1

    ตอนที่2
    วันที่ 1 พ.ย. 2554วันที่ 2 พ.ย. 2554

    ตอนที่1

    ตอนที่2

    ตอนที่1

    ตอนที่2
    วันที่ 31 ต.ค. 2554

    ตอนที่1

    ตอนที่2

    ตอนที่3

    ตอนที่4
    วันที่ 28 ตค 2554

    ตอนที่1

    ตอนที่2
    วันที่ 26 ตค 2554วันที่ 27 ตค 2554

    ตอนที่1

    ตอนที่2

    ตอนที่1

    ตอนที่2
    Situation of flooding areas surrounding Bangkok and Metropolis from 6 to 27 October 2554

    ภาพที่1

    ภาพที่2

    ภาพที่3

    ภาพที่4
    ภาพที่ 1 แผนที่บริเวณพื้นที่น้ำท่วม(สีฟ้า) ถึงวันที่ 27 ต.ค. 2554 ตั้งแต่พื้นที่บางส่วนของจังหวัดปทุมธานี จนถึงบริเวณ กทม. และปริมณฑลโดยรอบ
    ภาพที่ 2 แผนที่บริเวณพื้นที่น้ำท่วม(สีฟ้า) วันที่ 27 ต.ค. 2554 ตั้งแต่พื้นที่บางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจนถึงบริเวณ กทม. และปริมณฑลโดยรอบ
    ภาพที่ 3 แผนที่บริเวณพื้นที่น้ำท่วม(สีชมพู) วันที่ 6 ต.ค. 2554 ตั้งแต่พื้นที่บางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจนถึงบริเวณ กทม. และปริมณฑลโดยรอบ
    ภาพที่ 4 แผนที่บริเวณพื้นที่น้ำท่วม แสดงการเปลี่ยนแปลงจากวันที่ 6 ต.ค. 2554 (สีชมพู) ที่ซ้อนทับอยู่บนวันที่ 27 ต.ค. 2554 (สีฟ้า) ตั้งแต่พื้นที่บางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจนถึงบริเวณ กทม. และปริมณฑลโดยรอบ
    ข้อมูลภาพดาวเทียมรายละเอียดสูงบริเวณพื้นที่น้ำท่วมในประเทศไทย ของ CRISP, NATIONAL UNIVERSITY OF SINGAPORE
    Thailand Floods (Oct 2011)
    Centre for Remote Imaging, Sensing and Processing
    Situation of flooding areas surrounding Bangkok and Metropolis as of 23-24 October 2554

    ภาพที่1

    ภาพที่2

    ภาพที่3
    ภาพที่ 1 แผนที่บริเวณพื้นที่น้ำท่วม(สีแดง) ถึงวันที่ 23 ต.ค. 2554 ตั้งแต่พื้นที่บางส่วนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จนถึงบริเวณ กทม. และปริมณฑล
    ภาพที่ 2 แผนที่บริเวณพื้นที่วิกฤติน้ำท่วม(สีแดง) วันที่ 23 ต.ค. 2554 บริเวณ กทม. และปริมณฑล
    ภาพที่ 3 แผนที่บริเวณพื้นที่วิกฤติน้ำท่วม วันที่ 23-24 ต.ค. 2554 บริเวณ กทม. และปริมณฑล (ภาพแผนที่ภาพที่ 3 เป็นพื้นที่น้ำท่วมโดยประมาณเหล่านี้ (ห้ามนำไปใช้อ้างอิงทางกฎหมาย) ได้ประมวลผลเพิ่มเติม(สีเหลือง) ถึงวันที่ 24 ต.ค. 2554 เวลา 23:00 น. จากข้อมูลทุติยภูมิที่รวบรวมจากภาพถ่าย/วิดิโอ และรายงานจากสื่อสารมวลชนต่างๆ จากพื้นที่(สีแดง)ของข้อมูลน้ำท่วมที่ประมวลผลจากข้อมูลภาพดาวเทียม RADARSAT โดย GISTDA(www.gistda.or.th) ณ วันที่ 23 ต.ค. 2554 . ในพื้นที่วิกฤติดังกล่าวข้างต้นเท่านั้น)
    แผนที่น้ำท่วม dynamic สืบค้นได้ ของ ESRI
    Situation of flooding areas surrounding Bangkok and Metropolis as of 21 October 2554

    ภาพที่1

    ภาพที่2

    ภาพที่3
    ภาพที่ 1 แผนที่บริเวณพื้นที่น้ำท่วม(สีฟ้า) ถึงวันที่ 21 ต.ค. 2554 บริเวณ กทม. และจังหวัดข้างเคียง
    ภาพที่ 2 แผนที่บริเวณพื้นที่วิกฤติน้ำท่วม วันที่ 21 ต.ค. 2554 บริเวณจังหวัดปทุมธานี (อำเภอสามโคก อำเภอลาดหลุมแก้ว อำเภอเมือง อำเภอคลองหลวง อำเภอธัญบุรี) -นนทบุรี (อำเภอปากเกร็ด อำเภอบางบัวทอง อำเภอบางใหญ่ และอำเภอเมือง) และ กทม. (ด้านบน - เขตดอนเมือง และเขตสายไหม)
    ภาพที่ 3 แผนที่บริเวณพื้นที่วิกฤติน้ำท่วม วันที่ 21 ต.ค. 2554 บริเวณพื้นที่เมือง ชุมชน ระหว่างจังหวัดปทุมธานี (อำเภอสามโคก อำเภอลาดหลุมแก้ว อำเภอเมือง อำเภอคลองหลวง อำเภอธัญบุรี) -นนทบุรี (อำเภอปากเกร็ด อำเภอบางบัวทอง อำเภอบางใหญ่ อำเภอเมือง) และ กทม. (ด้านบน - เขตดอนเมือง เขตสายไหม)
    (ภาพแผนที่พื้นที่น้ำท่วมโดยประมาณเหล่านี้ (ห้ามนำไปใช้อ้างอิงทางกฎหมาย) ได้ประมวลผลเพิ่มเติมจากข้อมูลทุติยภูมิที่รวบรวมจากภาพถ่าย/วิดิโอ และรายงานจากสื่อสารมวลชนต่างๆ เพิ่มเติมจากพื้นที่(สีฟ้า)ของข้อมูลน้ำท่วม GISTDA (www.gistda.or.th) ณ วันที่ 21 ต.ค. 2554 ในพื้นที่วิกฤติดังกล่าวข้างต้นเท่านั้น)
    พื้นที่น้ำท่วมขังและประมาณการปริมาตรของน้ำในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลาง ตั้งแต่วันที่ 11-17 ตุลาคม 2554
    ข้อมูลภาพดาวเทียม THEOS เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 แสดงพื้นที่น้ำท่วมและลักษณะการไหลบ่าของน้ำเข้าทุ่ง โดยเฉพาะในพื้นที่บริเวณจังหวัดพระนครศรีอยุธยา(ตอนล่าง) ที่ลงมายังจังหวัดปทุมธานี(ตอนบน) ที่บันทึกและจัดทำเป็นแผนที่โดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) - GISTDA) แผนที่แสดงที่ตั้งสถานที่สำคัญ และนิคมฯ/โรงงานอุตสาหกรรมในด้านตะวันออกของ กทม. จังหวัดสมุทรปราการ(ด้านตะวันออกเฉียงเหนือ)และจังหวัดฉะเชิงเทรา(ด้านตะวันตก) ที่ซ้อนอยุ่บนข้อมูลภาพดาวเทียมจาก Google Earth (จัดทำเป็นแผนที่โดย GISTHAI)
    แผนที่แสดงความสูง ทางน้ำไหล คันกั้นน้ำ และความสูงคันกั้นน้ำรอบกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จากกรมแผนที่ทหาร

    ภาพที่1

    ภาพที่2

    ภาพที่3

    ภาพที่4
         แผนที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร) Version ของ กรมแผนที่ทหาร รับรองไม่มีว่าผิดเพี้ยนจากความเป็นจริง ทางกรมฯทำออกมาเพื่อให้ความรู้กับประชาชนในเรื่องน้ำท่วมโดยเฉพาะ โดยจะมีแผนที่ทั้งหมด 4 ภาพ บอกรายละเอียดดังนี้
    1. แนวคันกั้นน้ำและระดับพื้นที่ของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    2. ระดับแนวคันกั้นน้ำและถนนสายสำคัญของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    3. หมุดระดับความสูงของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    4. ความสูงต่ำของภูมิประเทศ (ทางน้ำไหล) ของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    ภาพที่ 1 แนวคันกั้นน้ำและระดับพื้นที่ของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    ภาพนี้บอกถึงแนวคันกั้นน้ำของกรุงเทพมหานครและปริมณฑลอยู่ไหน ละเอียดกว่าแนวคันพระราชดำริที่ผมนำเสนอไปในบทความก่อน หมุดสีแดงๆจะบอกถึงคันกั้นน้ำทุกทิศทางที่ กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรสาครเตรียมการเอาไว้รับมือ ในขณะที่สีของพื้นที่บ่งบอกความสูงต่ำ โดยสีน้ำเงินจะต่ำกว่าระดับน้ำทะเล สีเขียวสูงขึ้นมาหน่อย และสีเหลืองจะสูงที่สุด
    ภาพที่ 2 ระดับแนวคันกั้นน้ำและถนนสายสำคัญของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    ภาพนี้บ่งบอกถึงคันกั้นน้ำในแต่ละส่วน ของกรุงเทพมหานครคือสีเนื้อที่อยู่ตรงกลาง ปทุมเป็นเขียวมินท์อยู่ข้างบน นนทบุรีสีชมพูม่วงทางซ้ายบน สมุทรสาครเป็นสีชมพูล่างสุด แต่ว่าคันกั้นน้ำแต่ละอันไม่ได้กันพื้นที่ทั้งจังหวัดนะครับ
    แผนที่ 3 หมุดระดับความสูงของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    เป็นหมุดปักวัดระดับความสูงของพื้นที่ ว่าสูงจากน้ำทะเลปานกลางมาเท่าไร "+0.5" ก็คือสูงกว่าน้ำทะเลปานกลางอยู่ครึ่งเมตร ถ้า "+2.1" ก็คือสูงกว่าอยู่ 2.1 เมตร แต่ถ้าอ่านได้ "-0.8" แปลว่าต่ำกว่าระดับน้ำทะเล 80 เซนติเมตร
    แผนที่ 4 ความสูงต่ำของภูมิประเทศ (ทางน้ำไหล) ของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
    ภาพสุดท้ายเป็นภาพบอกทางไหลของน้ำ จากเหนือลงสู่อ่าวไทยว่าจะไปจากไหนไปไหน ซึ่งก็คือลูกศรสีเหลือง ส่วนพื้นดินสูงหน่อยคือสีเขียว จุดที่ต่ำหน่อยก็จะเป็นสีฟ้า
    พื้นที่น้ำท่วมขังและประมาณการปริมาตรของน้ำในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลาง ตั้งแต่วันที่ 11-17 ตุลาคม 2554
    พื้นที่น้ำท่วมขังและประมาณการปริมาตรของน้ำในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลาง ในเขตพื้นที่ชลประทาน ตั้งแต่วันที่ 11-17 ตุลาคม 2554 (วิเคราะห์โดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) - GISTDA : http://flood.gistda.or.th) ข้อมูลจากภาพดาวเทียม THEOS บันทึกข้อมูลเมื่อ
    วันที่ 15 ตุลาคม 2554 เวลา 10:25 น. แสดงลักษณะของพื้นที่น้ำท่วม บริเวณอำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
    (แหล่งข้อมูล : http://gistda.or.th)
    Situation of flooding areas surrounding Bangkok as of 17 October 2554

    ภาพที่1

    ภาพที่2

    ภาพที่3
    ภาพที่ 1 แผนที่บริเวณพื้นที่น้ำท่วม(สีฟ้า - GISTDA data) ถึงวันที่ 17 ต.ค. 2554 บริเวณ กทม. และจังหวัดข้างเคียง
    ภาพที่ 2 แผนที่บริเวณพื้นที่วิกฤติน้ำท่วม วันที่ 17 ต.ค. 2554 บริเวณจังหวัดปทุมธานี (อำเภอสามโคก อำเภอลาดหลุมแก้ว อำเภอเมือง และอำเภอคลอง) -นนทบุรี (อำเภอปากเกร็ดและบางบัวทอง) และ กทม. (ด้านบน - เขตดอนเมือง และเขตสายไหม)
    ภาพที่ 3 แผนที่บริเวณพื้นที่วิกฤติน้ำท่วม วันที่ 17 ต.ค. 2554 บริเวณ พื้นที่เมือง ชุมชน ระหว่างจังหวัดปทุมธานี (อำเภอสามโคก อำเภอลาดหลุมแก้ว อำเภอเมือง และอำเภอคลอง - ที่มีนิคมอุตสาหกรรมและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งอยู่) -นนทบุรี (อำเภอปากเกร็ดและบางบัวทอง) และ กทม. (ด้านบน - เขตดอนเมือง และเขตสายไหม)
    Situation of flooding areas surrounding Bangkok as of 15 October 2554

    ภาพที่1

    ภาพที่2

    ภาพที่3

    ภาพที่4
    ภาพที่ 1 แผนที่บริเวณพื้นที่น้ำท่วม(สีฟ้า) ถึงวันที่ 15 ต.ค. 2554 บริเวณ กทม. และปริมณฑล
    ภาพที่ 2 แผนที่บริเวณพื้นที่น้ำท่วม(สีฟ้า) ถึงวันที่ 15 ต.ค. 2554 บริเวณ กทม. และปริมณฑล ที่แสดงที่ตั้งพื้นที่เมืองและชุมชนตอนกลาง
    ภาพที่ 3 แผนที่บริเวณพื้นที่วิกฤติน้ำท่วม วันที่ 15 ต.ค. 2554 บริเวณจังหวัดปทุมธานี (อำเภอสามโคก อำเภอลาดหลุมแก้ว อำเภอเมือง และอำเภอคลอง) -นนทบุรี (อำเภอปากเกร็ดและบางบัวทอง) และ กทม. (ด้านบน - เขตดอนเมือง และเขตสายไหม)
    ภาพที่ 4 แผนที่บริเวณพื้นที่วิกฤติน้ำท่วม วันที่ 15 ต.ค. 2554 บริเวณ พื้นที่เมือง ชุมชน ระหว่างจังหวัดปทุมธานี (อำเภอสามโคก อำเภอลาดหลุมแก้ว อำเภอเมือง และอำเภอคลอง - ที่มีนิคมอุตสาหกรรมและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งอยู่) -นนทบุรี (อำเภอปากเกร็ดและบางบัวทอง) และ กทม. (ด้านบน - เขตดอนเมือง และเขตสายไหม)
    ข้อมูลเชิงพื้นที่ทางวิทยาศาสตร์เบื้องต้น เพื่อประกอบการตัดสินใจ (14 ต.ค.2554)

    ภาพที่1

    ภาพที่2

    ภาพที่3

    ภาพที่4
    ภาพที่ 1 และ ภาพที่ 2 แผนที่บริเวณพื้นที่น้ำท่วม ถึงวันที่ 14 ต.ค. 2554 บริเวณ กทม. และปริมณฑล (โดยเฉพาะพื้นที่เมืองและชุมชน)
    ภาพที่ 3 แผนที่บริเวณพื้นที่วิกฤติน้ำท่วม วันที่ 14 ต.ค. 2554 บริเวณ พื้นที่เมือง ชุมชน ระหว่างจังหวัดปทุมธานี (อำเภอสามโคก อำเภอเมือง) -นนทบุรี (อำเภอปากเกร็ดและบางบัวทอง) และ กทม (ด้านบน - เขตดอนเมือง หลักสี่ สายไหม)
    ภาพที่ 4 แผนที่พื้นที่น้ำท่วม(โดยประมาณ)ที่ประมวลจากข้อมูลทุติยภูมิที่รวบรวมจากภาพถ่าย/วิดิโอ และรายงานจากสื่อสารมวลชนต่างๆ ซ้อนทับกับข้อมูลน้ำท่วมของ GISTDA (12 ต.ค. 2554) บริเวณ พื้นที่เมือง ชุมชน ระหว่างจังหวัดปทุมธานี (อำเภอสามโคก อำเภอเมือง) - นนทบุรี (อำเภอปากเกร็ดและบางบัวทอง)

    ติดตามสถานการณ์และประมวลข้อมูลเบื้องต้น โดย ผศ.ดร.สมบัติ อยู่เมือง
    หัวหน้าศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย (GISTHAI) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    ศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย สรุปสถานการณ์ขณะนี้มีปริมาณน้ำลง... (13 ต.ค.2554)
    นายวิม รุ่งวัฒนะจินดา โฆษก ศปภ. พร้อมด้วย ผศ.ดร.สมบัติ อยู่เมือง ผอ.ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย นำภาพถ่ายทางอากาศและพิกัดปริมาณน้ำจากการวิเคราะห์ของกระทรวงวิทยาศาสตร์มาแสดงให้ดูว่า ขณะนี้ปริมาณน้ำในแม่น้ำ ปิง วัง ยม น่าน เริ่มปรับตัวลดลง ทำให้น้ำไหลลงมาเติมที่จังหวัดนครสวรรค์น้อยลงตามไปด้วย
    More Detail...
    ผู้เชี่ยวชาญชี้หนนี้ กทม.น้ำท่วมนาน - รองผู้ว่าฯ มั่นใจเอาอยู่ พร้อมรับมือ (10 ต.ค.2554)

    ผศ.ดร.สมบัติ อยู่เมือง

    พ.ญ.มาลินี สุขเวชชวรกิจ
    “ผศ.ดร.สมบัติ” ชี้ต้องระวังเขื่อนระหว่างปทุม-นนท์ หากน้ำทะลุมาได้เข้า กทม.แน่ ระบุหากท่วมครั้งนี้ ด้วยความสามารถในการระบายน้ำ-ทะเลหนุน จะทำ กทม.ท่วมนานพอควร แต่ก็ยังเร็วกว่าจังหวัดอื่น ด้าน “พญ.มาลินี” ยันเขื่อน กทม.ไม่พังแน่ ป้องกันเต็มที่ หรือหากสุดวิสัยจริงๆ ก็มีแผนอพยพคนเตรียมพร้อมไว้หมดแล้ว
    More Detail...
    "น้ำท่วม ภัยแล้ง แผ่นดินไหว ภัยที่คนไทยควรรู้เพื่อเตรียมรับมือ" (8 ต.ค. 2554)

    ชมคลิปข่าว
    สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดเสวนาเรื่อง
    "น้ำท่วม ภัยแล้ง แผ่นดินไหว ภัยที่คนไทยควรรู้เพื่อเตรียมรับมือ"  
    "ข่าวเด่น คนดัง" TNN Channel ออกอากาศสดเวลา 17:30-20:00 น. 7 ตุลาคม 2554

    ชมคลิปข่าวตอนที่1

    ชมคลิปข่าวตอนที่2
    การจัดการน้าท่วมในลุ่มน้าเจ้าพระยาในสภาวะวิกฤติ การจัดการน้าท่วมในลุ่มน้าย่อยและลุ่มน้าหลักอย่างยั่งยืนของประเทศไทย  
    โดย ผศ. ดร. สมบัติ อยู่เมือง
    ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย (www.gisthai.org)
    ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    (ข้อมูลภาพแผนที่ประกอบรายการข่าวเด็นคนดังของทีวี TNN 24 ออกอากาศ เวลา 17:30-20:00 น. 7 ตุลาคม 2554)
    Poster แนวทางการบริหารจัดการพิบัติภัยจากน้ำท่วมในเชิงพื้นที่ระดับลุ่มน้ำหลักและลุ่มน้ำย่อย
    อย่างมีประสิทธิภาพและได้ประสิทธิผล ที่ทั่วถึง เท่าเทียม และเป็นธรรม

    ในงานประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศแห่งชาติ ประจำปี 2553 (GeoInfotech 2010)
    ณ อิมแพ็ค คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี

    Flood Management
    แก้น้ำท่วม..อย่างยั่งยืนอย่างไร ? ในรายการ “คนในข่าว” ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์เอเอสทีวี เมื่อวันที่ 16 พ.ย. 2553

    ชมคลิปข่าวช่วงที่1

    ชมคลิปข่าวช่วงที่2

    ชมคลิปข่าวช่วงที่3

    ชมคลิปข่าวช่วงที่4
    รายการ “คนในข่าว” ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์เอเอสทีวี-ทีวีของประชาชน เวลา 20.30-22.00 น. โดยมีนายรัฐวุฒิ มิตรมาก รับหน้าที่เป็นผู้ดำเนินรายการ และได้เชิญผศ.ดร.สมบัติ อยู่เมือง หัวหน้าศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย ภาควิชาธรณี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ และอ.ปราโมทย์ ไม้กลัด อดีตอธิบดีกรมชลประธาน ร่วมพูดคุยในรายการถึงประเด็นอุทกภัย กับการบริหารจัดการน้ำของประเทศ.... [สรุปประเด็น]


    การใช้ระบบสารสนเทศเชิงพื้นที่ เพื่อการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ  
    ภูมิศาสตร์เชิงระบบกับการจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการในประเทศไทย
    ภูมิศาสตร์เชิงระบบกับการจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการในประเทศไทย
      บทความนี้จะนำเสนอแนวทางในการใช้ภูมิศาสตร์เชิงระบบ (systematic geography) มาช่วยการจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการ (integrated coastal zone management : ICZM) โดยจะบรรยายถึงเครื่องมือสำคัญของภูมิศาสตร์เชิงระบบ อันประกอบด้วย การสร้างแผนที่ ระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์ (GIS) การสำรวจจากระยะไกล หรือรีโมทเซนซิง การจำลองทางคณิตศาสตร์และทางสถิติ ท้ายที่สุด บทความจะเสนอขั้นตอนเบื้องต้นในการพัฒนาการจัดการชายฝั่งอย่างบูรณาการในประเทศไทย ....
    More Detail...
    เรียนรู้จากภูมิสารสนเทศ (GEO-INFORMATICS) เพื่อการจัดการการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งบริเวณอ่าวไทย “รูปตัว ก”
    เรียนรู้จากภูมิสารสนเทศ (GEO-INFORMATICS) เพื่อการจัดการ
    การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งบริเวณอ่าวไทย “รูปตัว ก”
    • การกัดเซาะและการสะสมตัวบริเวณชายฝั่ง
    • การทรุดตัวของแผ่นดิน
    • การเปลี่ยนแปลงของการใช้ประโยชน์ที่ดิน
    • ปรากฏการณ์โดมความร้อนเหนือมหานคร
    More Detail...
    ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมหลักในการจัดการพิบัติภัย
    ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมหลักในการจัดการพิบัติภัย
    • ความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์ความเสี่ยงภัยและ.องค์ความรู้ในด้านอื่นๆ
    • ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมหลักในการจัดการพิบัติภัย
    More Detail...
    "ข่าวเด่น คนดัง" TNN Channel ออกอากาศสดเวลา 19:00 น. 14 มีนาคม 2554
    11 March 2011Sendai Earthquake and Tsunamiin Japan โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ อยู่เมือง ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย (www.gisthai.org) ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
    8.9 earthquake and tsunami hit Japan on 11-3-2011


  • http://en.wikipedia.org/wiki/2011_Sendai_earthquake_and_tsunami
  • http://www.space.com/11114-japan-earthquake-tsunami-satellite-photos.html
  • http://earthquake.usgs.gov/earthquakes/eqinthenews/2011/usc0001xgp/#maps
  • http://nctr.pmel.noaa.gov/honshu20110311/ ......for tsunami modeling
  • http://www.seisvol.kishou.go.jp/eq/eng/fig/info.html ... for tsunami warning by
  • Japan Meteorological Agency | Flow of issuance of information about tsunami and earthquake
  • www.seisvol.kishou.go.jp
  • แผนที่แสดงการติดตามและประเมินพื้นที่น้ำท่วมบริเวณภาคใต้ จาก website ของ GISTDA

    แผนที่แสดงพื้นที่น้ำท่วม 29 มีนาคม 2554
    บริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี

    แผนที่แสดงพื้นที่น้ำท่วม 1 เมษายน 2554
    บริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี
    "ดูแผนที่แสดงการติดตามและประเมินพื้นที่น้ำท่วมบริเวณภาคใต้ ได้ที่ website ของ GISTDA ได้ที่ http://flood.gistda.or.th/ ที่วิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคมถึงวันที่ 1 เมษายน 2554 ซึ่งซ้อนทับบนแผนที่ลักษณะภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:50,000 ที่จะเป็นประโยชน์ในการช่วยเหลือในระยะนี้อย่างมาก ช่วยๆกันเผยแพร่ให้หน่วยงานและสื่อสาร มวลชน นำไป...ประชาสัมพันธ์ ในเชิงพื้นที่ อย่างทั่วถึง ทันการณ์ ที่เท่าเทียมและเป็นธรรม ....."
     2001 debris flow and debris flood in Nam Ko area, Phetchabun province, central Thailand
    ( Environmental Geology 2006 51: 545-564)


    บทคัดย่อ : การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดตะกอนไหลถล่มและน้ำปนตะกอนท่วมบ่า ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2544 บริเวณพื้นที่น้ำก้อ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ กระทำโดยใช้ข้อมูลที่จัดทำและแปลความหมายด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และข้อมูลจากการสำรวจระยะไกล ข้อมูลจากการสำรวจภาคสนาม และข้อมูลจากการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ ข้อมูลดังกล่าวยังใช้เพื่อพิสูจน์หลักฐานพื้นที่ที่มีศักยภาพเป็นแหล่งกำเนิดตะกอน บริเวณที่มีการเคลื่อนตัวของตะกอน และบริเวณที่มีการสะสมตัวของตะกอน รวมทั้งกำหนดเกณฑ์ที่สามารถแสดงศักยภาพของพิบัติภัยจากการเกิดตะกอนไหลถล่มและน้ำปนตะกอนท่วมบ่า ในบริเวณลุ่มน้ำก้อใหญ่และเนินตะกอนรูปพัด การศึกษาวิจัยยังกระทำเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างลำดับชั้นของตะกอนและการเกิดตะกอนไหลถล่มและน้ำปนตะกอนท่วมบ่าในบริเวณพื้นที่เนินตะกอนรูปพัด อีกด้วย
          การวิเคราะห์เพื่อประเมินความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดตะกอนไหลถล่มและน้ำปนตะกอนท่วมบ่า ได้ใช้ข้อมูลร่องรอยการเกิดตะกอนถล่มและน้ำปนตะกอนท่วมและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง... ... more detail
     การประเมินศักยภาพของตะกอนไหลถล่มและน้ำปนตะกอนบ่า ในปี 2544 บริเวณพื้นที่น้ำก้อ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ...


    วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2548    ISBN 974-14-2174-5   more detail
     การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อการบริหารจัดการโรคไข้หวัดนก ในประเทศไทย
    (GIS application for HPAI management in Thailand)


    โรคไข้หวัดนก หรือ HPAI (Highly Pathogenic Avian Influenza) เป็นโรคที่เกิด จากการติดเชื้อไวรัส Avian Influenza virus type A ในตระกูล Orthomyxoviridae ซึ่งเป็น RNA VIRUS ชนิดมีเปลือกหุ้ม โดยโรคไข้หวัดนกจัดเป็นโรคในกลุ่มของโรคอุบัติใหม่ (Emerging disease) หรือโรคอุบัติซ้ำ (Re-emerging disease) ซึ่งส่วนใหญ่เกิดขึ้นในสัตว์ปีก และสามารถติดต่อสู่คนได้โดยการสัมผัสกับสัตว์ที่ป่วยหรือติดเชื้อ แหล่งของเชื้อโรคที่สำคัญ ได้แก่ นกเป็ดน้ำ นกอพยพ และนกตามธรรมชาติซึ่งเป็นแหล่งรังโรคโดยไม่แสดงอาการ แต่ใน กลุ่มของเป็ด-ไก่ในฟาร์ม...   more detail
     ส่วนหนึ่งจากนิตยสาร EWORLD MAGAZINE


    "GIS ทำให้แผนที่หนึ่งแผ่นมีค่านับล้าน"
         เช้าวันที่ 11 ตุลาคม 2548 มีเสียงจากรายการวิทยุ 101.5 MHz (คลื่นเดียวกับที่นิตยสาร EWORLD ไปจัดรายการด้วย) เป็นเสียงของวิทยากรท่านหนึ่ง ซึ่งยกเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ขึ้นมาอธิบายโต้ข่าวที่ลือหนาหูในตอนนั้นว่าจะมีน้ำท่วมใหญ่ที่กรุงเทพ ... more detail

    ผลการวิเคราะห์สถานการณ์พิบัติภัยจาก ดินถล่ม-น้ำปนตะกอนบ่า-น้ำหลาก และน้ำท่วมขัง
    บริเวณลุ่มน้ำน่าน(ส่วนที่4) และลุ่มน้ำยม (ตอนล่าง) 25 พ.ค. 2549 ถึงปัจจุบัน
       
     การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และข้อมูลจากการสำรวจระยะไกล (Remote sensing) เพื่อการบริหารจัดการภัยพิบัติที่เกิดขึ้นจากดินถล่ม – น้ำปนตะกอนบ่า – น้ำหลาก และน้ำท่วมขังในพื้นที่ภาคเหนือ ปี พ.ศ. 2549
    Zoom... Zoom... Zoom... Zoom...

    โครงการวิจัยการจัดทำระบบข้อมูลเชิงพื้นที่ของจังหวัดน่านเพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม อย่างยั่งยืน
    Click to Zoom... โครงการปีงบประมาณ 2548
       ลักษณะโครงการเป็นงานวิจัยที่อธิบายปรากฏการณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม โดยวิธีทางภูมิสารสนเทศที่อาศัยความเชื่อมโยงกันของข้อมูล ที่สามารถหาเหตุและผลเชิงวิทยาศาสตร์ได้ ซึ่งองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจะเป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนด้านการบริหารจัดการตามนโยบาย...
    more detail
      Click to Zoom... โครงการปีงบประมาณ 2549
       การดำเนินงานโครงการต่อเนื่องจากในปีงบประมาณ 2548 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ สำรวจ และจัดทำระบบข้อมูลเชิงพื้นที่ที่เกี่ยวข้องด้านการบริหารจัดการพื้นที่ลุ่มน้ำน่าน ในจังหวัดน่านเชิงบูรณาการ และวิเคราะห์หาพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินปี 2545 ...
    more detail

     แผนที่ภาพข้อมูลดาวเทียม Landsat และ แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน บริเวณ จังหวัดน่าน
    Click to Zoom... ภาพจำลองลักษณะภูมิประเทศซ้อนทับด้วยภาพข้อมูลดาวเทียม Landsat บริเวณจังหวัดน่าน และบริเวณข้างเคียง   Click to Zoom... ภาพจำลองลักษณะภูมิประเทศซ้อนทับด้วยการใช้ประโยชน์ที่ดิน บริเวณจังหวัดน่าน

     ภาพจำลองสามมิติ บริเวณ จังหวัดน่าน
    Click to Zoom... Click to Zoom... Click to Zoom...
    ภาพจำลองสามมิติแสดงลักษณะภูมิประเทศ
    บริเวณจังหวัดน่าน

    Size  827 kb
    ภาพข้อมูลดาวเทียม landsat (band 5-4-3)
    ปี พ.ศ. 2543 - 2546 ซ้อนทับบนภาพจำลองสามมิติ
    ลักษณะภูมิประเทศบริเวณ จังหวัดน่าน
    Size 690 kb
    การใช้ประโยชน์ที่ดิน ซ้อนทับบนภาพจำลอง
    สามมิติแสดงลักษณะภูมิประเทศบริเวณ จังหวัดน่าน

    Size 641 kb
    more images

     การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูลจากการสำรวจระยะไกลเพื่อการบริหารจัดการพิบัติที่เกิดจากน้ำท่วมในลุ่มน้ำปิง วัง ยม น่าน
    Zoom ... Zoom ... Zoom
    ภาพจำลองสามมิติแสดงลักษณะภูมิประเทศ
    บริเวณภาคเหนือของประเทศไทย
    ภาพข้อมูลดาวเทียม landsat (band 5-4-3)
    ปี พ.ศ. 2543 - 2546 ซ้อนทับบนภาพจำลองสามมิติ
    ลักษณะภูมิประเทศบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย
    ภาพข้อมูลดาวเทียม Landsat (Band 5-4-3)
    ปี พ.ศ. 2543 - 2546 ซ้อนทับบนภาพจำลอง
    สามมิติแสดงลักษณะภูมิประเทศบริเวณภาคกลาง
    และภาคตะวันออกของประเทศไทย

     ภาพจำลองสามมิติและตำแหน่งหมู่บ้านที่ได้รับความเสียหายบริเวณ จังหวัดอุตรดิตถ์ และจังหวัดข้างเคียง
    Zoom... Zoom... Zoom... Zoom...
    พื้นที่ชุมชน
    ซ้อนทับบนลักษณะภูมิประเทศ
    ภาพข้อมูลดาวเทียม Landsat
    ซ้อนทับบนลักษณะภูมิประเทศ
    ข้อมูลการใช้ประโยชนที่ดิน
    ซ้อนทับบนลักษณะภูมิประเทศ
    ตำแหน่งหมู่บ้าน
    ที่ได้รับความเสียหาย

     การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และข้อมูลจากการสำรวจระยะไกล (Remote Sensing) เพื่อการบริหารจัดการพิบัติที่เกิดจากน้ำท่วมในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย
    แผนที่วิเคราะห์ผลกระทบจากน้ำท่วมภาคเหนือ
    วันที่ 25 พฤษภาคม 2549
    วันที่ 26 พฤษภาคม 2549
    วันที่ 27 พฤษภาคม 2549

    โครงการ / งานวิจัย และบทความ
     โครงการการพัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารและการตัดสินใจในการจัดการพื้นที่เสี่ยงภัย
    (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย)

    คลังแผนที่ ( GISTHAI MAPS GALLERY )
    สนใจสั่งซื้อภาพขนาดจริง ความละเอียดสูง พิมพ์ด้วยกระดาษ Glossy พร้อมเคลือบ
    ติดต่อ โทรศัพท์ 02 218 5442-3 โทรสาร 02 218 5464      e-mail : info@gisthai.org
    ภาพข้อมูลดาวเทียม (Satellite Images)
    ภาพจำลองสามมิติแสดงลักษณะภูมิประเทศ ของประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียง A perspective view showing Thailand topography and the surrounding areas
    ภาพจำลองสามมิติ
    ข้อมูลดาวเทียม Landsat (Band 5-4-3) ปี พ.ศ. 2543-2546 ซ้อนทับบนภาพจำลอง สามมิติลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทย False color composite of Landsat satellite imageries (Band 5-4-3) acquired in 2000-2003 draped on 3D Digital Terrian Model of Thailand
    ภาพจำลองสามมิติซ้อนทับด้วย ภาพข้อมูลดาวเทียม Landsat
    ภาพข้อมูลจากดาวเทียม Ikonos ซ้อนทับแบบจำลองลักษณะภูมิประเทศ บริเวณหาดป่าตอง บันทึกภาพเมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2547Ikonos satellite image overlaid with the simulated topography of Patong Beach acquired on 24 February 2004
    ภาพจำลองสามมิติซ้อนทับด้วย ภาพข้อมูลดาวเทียม Ikonos
    (หาดป่าตอง จ.ภูเก็ต)

    แผนที่ประเภทแหล่งน้ำและลักษณะการใช้น้ำของประเทศไทย
    แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน
    การใช้ประโยชน์ที่ดิน
    แผนที่พื้นที่ชุมชนและแหล่งน้ำของหมู่บ้าน
    พื้นที่ชุมชนและแหล่งน้ำของหมู่บ้าน
    แผนที่หมู่บ้านที่ขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรและพื้นที่ทำการเกษตร
    หมู่บ้านที่ขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรและพื้นที่ทำการเกษตร
    แผนที่พื้นที่ชลประทาน , พื้นที่และตำแหน่งโรงงานอุตสาหกรรม
    พื้นที่ชลประทาน , พื้นที่และตำแหน่งโรงงานอุตสาหกรรม
    แผนที่แหล่งน้ำใต้ดินและหมู่บ้านที่มีน้ำประปา
    แหล่งน้ำใต้ดินและหมู่บ้านที่มีน้ำประปา
    แผนที่แหล่งน้ำและน้ำผิวดินของชุมชน
    แหล่งน้ำและน้ำผิวดินของชุมชน

    ภาพจำลองสามมิติลักษณะภูมิประเทศที่ซ้อนทับด้วยข้อมูลดาวเทียม บริเวณ 3 จังหวัดภาคใต้
    บริเวณ จ.นราธิวาส
    จ.นราธิวาส
    บริเวณ จ. นราธิวาสและปัตตานี
    จ. นราธิวาสและปัตตานี
    บริเวณ จ.ปัตตานี
    จ.ปัตตานี
    บริเวณ จ.ยะลา
    จ.ยะลา

    Maps of Southeast Asia
    Landcover of Cambodia
    Landcover of Cambodia
    Terrain of Cambodia
    Terrain of Cambodia
    Landcover of Vietnam
    Landcover of Vietnam
    Terrain of Vietnam
    Terrain of Vietnam

    แผนที่พิบัติภัย


    Receding Flood waters over Kyauktan Township, Yangon Division, Myanmar Poster of the Eastern Sichuan, China Earthquake of 12 May 2008 - Magnitude 7.9

    http://www.gisthai.org/   www.geo.sc.chula.ac.th   www.sc.chula.ac.th   www.chula.ac.th   www.gistda.or.th   กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร   Esri (Thailand)    www.police.go.th   http://www.sisea.co.th/   http://www.crisp.nus.edu.sg/   www.GIS2ME.COM   www.ldd.go.th   www.rtsd.mi.th    กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย   www.police.go.th    สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา    www.GITS.net.th   กรมทรัพยากรธรณี  
    TOP ^